แบบบันทึกการประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ
สี |
กลุ่ม |
|
|
ปกติ |
≤120/80 |
|
เสี่ยง |
120/80 – 139/89 |
|
ป่วยระดับ 0 |
≤ 139/39 |
|
ป่วยระดับ 1 |
140/90 – 159/99/td>
|
|
ป่วยระดับ 2 |
160/100 – 179/109 |
|
ป่วยระดับ 3 |
≥ 180/110 |
|
มีโรคแทรกซ้อน |
มีอาการของโรคแทรกซ้อนรุนแรง ได้แก่ หัวใจ หลอดเลือดสมอง ไต ตา เท้า |
เพศ |
รอบเอว |
เพศชาย |
ไม่ควรเกิน 36 นิ้ว (< 90 ซม.) |
เพศหญิง |
ไม่ควรเกิน 32 นิ้ว (< 80 ซม.) |
เส้นรอบเอว :เป็นการประเมินภาวะอ้วนลงพุง หากเกินค่ามาตรฐานจะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน โรความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด โรคหลอดเลือดสมองตีบ เป็นต้น โดยรอบเอวที่เพิ่มขึ้นทุก 5 เซนติเมตร จะเพิ่มโอกาสการเป็นโรคเบาหวาน 3 – 5 เท่า
น้ำหนักตัว |
ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) |
ผอม |
น้อยกว่า 18.5 |
สมส่วน |
18.5 – 24.9 |
ท้วม (น้ำหนักเกิน) |
25.0 – 29.9 |
อ้วน |
30.0 – 39.9 |
อ้วนอันตราย |
มากกว่า 40.0 |
ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) : หมายถึง ความสมดุลของน้ำหนักและส่วนสูง ซึ่งถ้ามากเกินไปเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดความเจ็บป่วยในอนาคต
BMR (Basal Metabolism Rate) เป็นค่าความต้องการพลังงานของร่างกายขณะพัก เมื่อได้ค่า BMR จะต้องบวกการใช้พลังงานเพิ่มขึ้นอีก 300 – 400 Kcal ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นพลังงานที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน
Body Fat (%) เป็นปริมาณเปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกาย สามารถที่จะอธิบายลักษณะรูปร่างได้
หมายเหตุ หน่วยเป็นนิ้วและ เครื่องหมายเป็น +,-
หมายเหตุ • น้อยกว่า 65 ครั้ง ถือว่ามีความเสี่ยงหรือความทนทานของระบบหัวใจและหายใจต่ำ
การทดสอบการลุกขึ้นจากเก้าอี้ เดินไป 8 ฟุตและเดินกลับมานั่ง (8-foot-up-and-fo-test) |
|